Sunday, January 31, 2016

HIPP Publication on 2008-2011 (Page 44)

HIPP Publication on 2008-2011

รายชื่อผู้ขึ้นทะเบียนผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา

ผู้ขึ้นทะเบียนผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา

นิพิฐพนธ์ สนิทเหลือ - RIR Research Information Repository

http://rir.nrct.go.th/rir/?page=researcher&author_code=31270

นิพิฐพนธ์   สนิทเหลือ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร

http://cas.or.th/publication/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A


นิพิฐพนธ์   สนิทเหลือ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร

อภิปรายการจัดทำโครงการ ALCOHOL LOVER


ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
Reference: จักรพันธ์ กิตตินรรัตน์ และนิพิฐพนธ์ สนิทเหลือ. (2554). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา . สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ .
เกี่ยวกับงานวิจัย : “ เป็นงานวิจัยที่ศึกษาพฤติกรรม และปัจจัยที่กำหนดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษา ด้วยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยด้านบุคคล ครอบครัว สังคมและสิ่งแวดล้อม และความคาดหวังจากการดื่ม ที่มีต่อพฤติกรรมการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นประโยชน์เพื่อใช้เป็นแนวทางในกำหนดมาตรการ นโยบายส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการดื่มรวมถึง การนำไปใช้เป็นแนวทางควบคุมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเยาวชนที่เป็นนักศึกษา และกลุ่มประชากรอื่นๆ 
Limitation: การศึกษาครั้งนี้ มีปัจจัยเพศเป็นตัวรบกวนในการศึกษา ครั้งต่อไปควรจะแยกอิทธิพลของเพศออกมา แล้วจึงทำการศึกษาปัจจัยในข้ออื่นๆ
Implication: จากงานวิจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร ทำให้มีแนวทางในการกำหนดนโยบายหรือมาตรการเพื่อป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ตัวอย่างเช่น จากผลการวิจัยพบว่าการคบเพื่อนที่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เป็นตัวทำนายที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการตัดสินใจดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ดังนั้นสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสนใจกับพฤติกรรมของกลุ่มนักศึกษาให้มีกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน รวมถึงการสร้างความตระหนักถึงผลของการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความสนใจและตระหนักถึงผลที่ เกิดขึ้นจากเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ดังเช่น การจัดทำโครงการ Alcohol Lover ที่จัดทำขึ้นในกลุ่มนักศึกษาคณะกายภาพบำบัด มหิดล
Application: สำหรับการวิจัยในอนาคต ควรเพิ่มกลุ่มตัวอย่างให้ใหญ่ขึ้น เพื่อให้สามารถอ้างอิงไปถึงนักศึกษาในประเทศไทยได้ และควรเพิ่มการศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นในกลุ่มตัวอย่างและบุคคลรอบข้าง เพื่อหาแนวทางแก้ไขและป้องกันเพิ่มเติม นอกจากนี้ควรมีการ การศึกษาเชิงนโยบาย เพื่อศึกษาว่ามีนโยบายใดที่มีประสิทธิผลต่อการควบคุมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อนำมาปรับเป็นกลยุทธ์ในการควบคุมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มนักศึกษา
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/548316
https://www.gotoknow.org/posts/548316